บทความล่าสุด
สาธิตการใช้ SMS API สั่งการ MiniLink Gateway Version 3.0 บนแพลตฟอร์ม 1NCE ผ่านเครือข่าย 4G/LTE โดยไม่ต้องเขียนโค้ด
ในบทความนี้ ผู้เขียนจะสาธิตการใช้งานบอร์ด MiniLink Gateway Version 3.0 เพื่ออ่านค่าเซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ์ผ่านพอร์ต RS485 โดยใช้โปรโตคอล Modbus RTU รวมถึงการใช้แพลตฟอร์ม 1NCE ในการส่ง SMS API สำหรับคอนฟิกการทำงานของบอร์ดระยะไกลผ่านเครือข่าย 4G/LTE และการส่งข้อมูลไปยัง UDP Server บน Cloud
[EP.3] ทดสอบระยะทางการรับส่งข้อมูลของ MINILINK S93-DTU ผ่านโปรโตคอล Modbus RTU
MINILINK รุ่น S93-DTU (AS923–485) สามารถสื่อสารกันเองได้ โดยไม่จำเป็นต้องใช้ LoRaWAN Gateway และ Network Server ใช้ความสามารถของ LoRa PtP สื่อสารทางไกลแบบไร้สายลดความยุ่งยากในการเดินสายสัญญาณ ลดต้นทุนการบำรุงรักษา ทำให้การรับส่งข้อมูลโปรโตคอล Modbus RTU (RS458) เป็นเรื่องง่ายๆ
[EP.2] ใช้ MINILINK S93-DTU อ่านค่ามิเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ เอเอ็มอาร์ แบบไร้สาย LoRa Bridge ผ่านพอร์ต RS485 Modbus RTU
บทความนี้ผู้เขียนจะสาธิตการประยุกต์ใช้โหนด MINILINK รุ่น S93-DTU (AS923–485) สื่อสารกับมิเตอร์อิเล็กทรอนิกส์ เอเอ็มอาร์ ของ Misubishi รหัสรุ่น SX1-A31E ผ่านพอรต์สื่อสาร RS485 แบบ Serial Link (2 Wires Half Duplex)โดยโปรโตคอล Modbus RTU แล้วใช้โปรแกรม Node-RED อ่านค่าข้อมูล
[EP.1] ใช้ MINILINK S93-DTU อ่าน Modbus เซนเซอร์วัดอุณหภูมิตู้แช่เย็นส่งค่าขึ้นคลาวด์ผ่านเครือข่าย LoRaWAN
หนึ่งในปัญหาที่ชวนปวดหัวของการนำโซลูชั่นไอโอทีมาประยุกต์ใช้ ก็คือการเดินสายสัญญาณ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโรงงานอุตสาหกรรม ต้นทุนการติดตั้งส่วนใหญ่ก็อยู่ในจุดนี้ และอีกปัญหาที่เจอกันบ่อยๆ คือการเพิ่มเติมและย้ายจุดติดตั้ง เพราะนอกจากจะต้องรื้อสายสัญญาณเดิมออกแล้ว ยังต้องเดินสายสัญญาณใหม่อีกด้วย
[EP.1] เชื่อมต่อโหนด MiniLink(ESP32) กับ AWS IoT Core โดยเครือข่าย WiFi / LoRaWAN และ NB-IoT
ในบทความนี้ ผู้เขียนจะยกตัวอย่างการนำ IoT device หรือโหนด MiniLink รุ่น ESP32 จาก ใส่ใจ เทค ติดตั้งกับเซ็นเซอร์วัดคุณภาพอากาศ ยี่ห้อ ACER ผ่านพอร์ต RS485 โปรโตคอล ModbusRTU โดยเครือข่าย WiFi/LoRaWAN/NB-IoT เชื่อมต่อกับ AWS IoT Core รับส่งข้อความ Subscribe/Publish ส่งต่อไปยัง AWS Service ที่ให้บริการเกี่ยวข้องกับงาน IoT
แนะนำ MiniLink IIoT Node
ก่อนหน้าน้ัน ในโรงงานอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมการเกษตร โรงเรือนเกษตรอัจฉริยะ หรือโครงการอัจฉริยะต่างๆ นิยมใช้ PLC เป็นโหนด Controller ควบคุมการทำงานของเครื่องจักร ตรวจสอบสถานะอุปกรณ์เซ็นเซอร์และระบบการทำงานต่างๆ โดยใช้ระบบ SCADA วิเคราะห์ข้อมูลแบบเรียลไทน์และควบคุมการทำงาน
ใช้บอร์ด NB-IoT extension ดึงค่าจากเซ็นเซอร์โดย Modbus RTU แล้วส่งข้อมูลขึ้น Cloud ด้วย MQTT
บอร์ด DEVIO NB-DEVKIT I ของ AIS เป็นบอร์ดที่น่าใช้บอร์ดหนึ่งเพราะใช้หน่วยประมวลผลเป็น ESP32 ที่ทำงานได้อย่างรวดเร็ว และมีโมดูล SIMCOM 7020E ที่รองรับโปรโตลคอล TCP/MQTT ทำให้ใช้งานง่าย เหมาะสำหรับผู้ที่เร่ิมต้นและผู้ที่ต้องการนำไปประยุกต์ใช้งาน
[ตอนที่ 4] ควบคุมบอร์ด AIS DEVIO NB-DEVKIT I ส่ง Payload ตรงไป AIS MEGELLAN โดย Arduino IDE
มาถึงตอนนี้ ท่านคงเห็นภาพการทำงานและทดลองใช้ AT Commands ควบคุมบอร์ด AIS DEVIO NB-DEVKIT I เชื่อมต่อเครือข่าย NB-IoT รับส่งข้อมูลสำเร็จกันแล้ว ในบทความนี้จะสาธิตการใช้โปรแกรม Aduino IDE สร้างฟังก์ชัน รับส่ง Payload ตรงไปยัง AIS Magellan (เวอร์ชันแรก) ซึ่งเป็น Platfrom IoT ที่ทาง AIS ได้จัดเตรียมไว้ให้นักพัฒนาใช้
[ตอนที่ 3] ใช้ AT Commands ควบคุมบอร์ด AIS DEVIO NB-DEVKIT I รับส่ง Payload ด้วย HTTP
The Hypertext Transfer Protocol (HTTP) เป็นโปรโตคอลที่ออกแบบมาสำหรับการสื่อสารข้อมูลแบบ Client และ Server เป็นการคุยกันสองทาง มีทั้งการร้องขอและการตอบกลับ การเปิดดู Website ต่างๆ การใช้ Webhook การส่งการแจ้งเตือน LINE Notify การรับส่งอีเมล์ ก็ถือว่าเป็นการสื่อสารแบบ Client และ Server
[ตอนที่ 2] ใช้ AT Commands ควบคุมบอร์ด AIS DEVIO NB-DEVKIT I รับส่ง Payload ด้วย TCP/UDP และ MQTT
การรับส่ง Payload ของ NB-IoT Shield ในเวอร์ชันแรกน้ัน ทาง AIS ได้จัดเตรียมไลบรารี่ทางเลือกมาให้สำหรับนักพัฒนา เป็นตัวอย่างการรับส่ง Payload โดยโปรโตคอล UDP ไปยัง UDP Server ซึ่งในขณะนั้นยังไม่รองการรับส่ง Payload ด้วยโปรโตคอล MQTT เนื่องจากข้อจำกัดของโมดูล Quectel BC-95-B8 ที่ไม่รองรับโปรโตคอลดังกล่าว
[ตอนที่ 1] ใช้ AT Commands ควบคุมบอร์ด AIS DEVIO NB-DEVKIT I เชื่อมต่อเครือข่าย NB-IoT
AIS ได้จัดเตรียมไลบรารี่สำหรับบอร์ด DEVIO NB-DEVKIT I มาให้เรียบร้อย คาดว่าจะเปิดให้ดาวน์โหลดในอีกไม่ช้านี้ แต่สำหรับบทความนี้จะสาธิตการใช้ AT Commands ควบคุมการสื่อสารระหว่างโมดูล ESP32 กับโมดูล SIMCom SIM7020E ผ่านทาง UART มันเป็นอีกทางเลือกหนึ่งสำหรับนักพัฒนาที่ต้องการเจาะลึกใช้ฟีเจอร์โมดูลอย่างเต็มที่
[REVIEW] บอร์ดใหม่ AIS DEVIO NB-DEVKIT I เปิดกล่องครั้งแรกในไทย
AIS ได้เปิดให้บริการเครือข่าย NB-IoT เชิงพาณิชย์เป็นรายแรกของไทย และได้จัดเตรียม NB-IoT Shield มาให้ใช้ เพียงแค่นำ NB-IoT Shield มาสวมบนบอร์ด Arduino UNO แล้วไปโหลดไลบรารี่ที่ทาง AIS จัดเตรียมไว้ให้ ก็พร้อมใช้งานแล้ว เหมาะสำหรับผู้ที่เริ่มต้นใหม่ เพราะมีทุกอย่างเตรียมไว้ให้ใช้เรียบร้อย มีโค๊ด มีตัวอย่างให้ทดลองทำตาม
สร้างปุ่ม LoRaWAN Downlink ด้วย RESTful API บน Grafana ด้วย JavaScript และ BootStrap
ทุกปีพอเริ่มปลายฝนต้นหนาว ก็จะเริ่มเจอข่าวเกี่ยวกับอนุภาคฝุ่นขนาดเล็ก PM2.5/PM10 กันมากขึ้น โหนดวัดคุณภาพอากาศ SaiJai ก็เริ่มได้รับความสนใจขึ้นมาอีกครั้ง มาครั้งนี้โหนด SaiJai ได้พัฒนาขึ้นไปอีกขั้น จากที่สามารถวัดคุณภาพอากาศเพื่อดูแนวโน้มได้เพียงอย่างเดียว
ติดตั้ง Node-RED บน DigitalOcean และตั้งค่าให้ล๊อกอินก่อนเข้าระบบ
Node-RED เป็นสุดยอดเครื่องมือตัวหนึ่งที่ทำงานบน NodeJS นักพัฒนาโปรแกรมควรต้องมีติดตัวไว้ มันเป็นเครื่องมือเขียนโปรแกรมบนโปรแกรมอีกที และใช้เชื่อมต่ออุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ API และบริการออนไลน์เข้าด้วยกัน ทำงานบนบนเบราว์เซอร์ใช้งานง่ายแบบลากแล้ววาง
สร้าง UDP server รับและส่งข้อมูล NBIoT ไปยัง LineNotify และ Blynk ด้วย Node-RED ตอนที่ 1
หลังจากใช้งาน NBIoT มาได้สักระยะหนึ่ง พบว่าปัญหาการส่ง Payload ไปยังอุปกรณ์ end node ทำได้ไม่ง่ายนัก เพราะ NBIoT ใช้ IP Address แบบ DHCP แจกให้กับตัวอุปกรณ์ NBIoT Shield ที่เชื่อมต่อ แน่นอนว่าทุกครั้งที่มีการบูตของ NBIoT Shield มันจะได้รับ IP Address ใหม่ทุกครั้ง
เปิดใช้ LoRa-Node ใหม่ด้วยวิธี OTAA
ช่วงเริ่มต้นการศึกษาใช้งาน LoRaWAN ใหม่ๆ จะได้ยินบ่อยๆ กับคำว่า OTAA ตัวโหนดจะต้องกำหนดค่า DevEUI AppEUI และ AppKey ส่งไปให้ Network Server เพื่อเปิดใช้งาน แค่นี้ก็เพียงพอทำให้ปวดหัวแล้ว ยังไม่พอเจ้าตัว AppKey มันยังถูกนำไปสร้างเซสชันคีย์อื่นด้วย
ทดสอบ AIS NBIOT Tracking
เดือนที่ผ่านมา ผมมีโอกาสเดินทางไปจังหวัดเชียงใหม่ ตัดสินใจไม่นั่งเครื่องบินไป แต่จะขับรถไปเอง ทำให้มีเป้าหมายใหม่ในการเดินทางครั้งนี้ นั่นก็คือ การทดสอบสัญญาณ NBIOT ของ AIS นั่นเอง ด้วยความสงสัยว่าจากกรุงเทพไปเชียงใหม่จะมีสัญญาณ NBIOT คลอบคลุมแค่ไหนและเป็นเพื่อนตลอดเดินทางหรือไม่ บริเวณเขาแถวๆ เถิน ลำปาง ดอยขุนตาล สัญญาณมันจะเป็นอย่างไร